Things to know before vaccination for the baby

สิ่งที่ต้องรู้ก่อนฉีดวัคซีนให้ลูกน้อย

การฉีดวัคซีนสำหรับเด็กๆเป็นสิ่งจำเป็นที่คุณพ่อคุณแม่ควรให้ความสำคัญโดยเฉพาะวัคซีนพื้นฐานที่เด็กๆควรได้รับในแต่ละช่วงวัย เพื่อลดอาการเสี่ยงของการเกิดโรคต่างๆ ลดความพิการและการเสียชีวิตค่ะ เนื่องจากเด็กๆโดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีมีความเสี่ยงสูงต่อการเจ็บป่วยได้ง่ายค่ะ ด้วยระบบการทำงานของร่างกายภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่างๆต่ำกว่าช่วงวัยอื่นๆ ซึ่งในปัจจุบันวัคซีนป้องกันโรคจำแนกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

  • วัคซีนกลุ่มพื้นฐาน

เป็นวัคซีนที่เด็กๆทุกคนต้องได้รับตั้งแต่แรกเกิด ถึงอายุ 12 ปี ได้แก่ บีซีจี, ตับอักเสบบี, คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี, โปลิโอชนิดหยอด, โปลิโอชนิดฉีด, หัด-คางทูม-หัดเยอรมัน, ไข้สมองอักเสบเจอี เป็นต้น ซึ่งสามารถรับวัคซีนได้ที่ที่สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เช่น รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลของรัฐ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายค่ะ

  • วัคซีนกลุ่มทางเลือกหรือวัคซีนเสริม

เป็นวัคซีนกลุ่มที่นอกเหนือจากวัคซีนกลุ่มพื้นฐานที่คุณพ่อคุณแม่สามารถเลือกฉีดหรือไม่ก็ได้ เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการฉีดตามแต่ละประเภทของวัคซีนและบริการของโรงพยาบาลนั้นๆ เช่น วัคซีนป้องกันโรคท้องเสียจากไวรัสโรต้า, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนตับอักเสบเอ เป็นต้น

Care for children after vaccination

ก่อนฉีดวัคซีนสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องทราบ เพื่อประโยชน์ต่อตัวลูกน้อยและคุณพ่อคุณแม่ค่ะ เพราะวัคซีนเป็นวิธีการเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคที่สำคัญค่ะ นอกจากการไปตามนัดของคุณหมอแล้วสิ่งที่คุณแม่ต้องทราบ ได้แก่

  • หากลูกมีอาการไอ น้ำมูกไหล หรือถ่ายเล็กน้อย สามารถฉีดวัคซีนได้ แต่ถ้าลูกป่วยมีไข้สูงควร ให้รอ 1 สัปดาห์หรือให้ลูกหายก่อนแลัวค่อยฉีดค่ะ
  • วัคซีนไอกรน ไอกรน คอตีบ บาดทะยัก DTP (ฉีดเมื่อลูกอายุ 2, 4, 6, 18 เดือนและ 4 ขวบ) อาจส่งผลข้างเคียงได้เช่น มีไข้สูง เป็นต้น
  • ไม่ควรให้ลูกกินยาพาราก่อนไปรับวัคซีนเพื่อดักไข้ เพราะลดประสิทธิภาพของวัคซีนค่ะ
  • วัคซีนบางชนิดฉีดแล้วลูกยังป่วยได้ค่ะ แต่ลดความรุนแรงลงได้ 50-90% เช่น ไข้หวัดใหญ่ โรต้า เป็นตัน เพราะการฉีดวัคซีนเป็นการกระตุ้นระบบภูมิต้านทานโรค ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคและความรุนแรงของโรคค่ะ

การดูแลลูกหลังฉีดวัคซีน

Vaccination for children

เนื่องจากการฉีดวัคซีนบางชนิดอาจส่งผลข้างเคียงได้ค่ะ เช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ปวด บวมแดงบริเวณแผล และในบางรายอาจมีการแพ้รุนแรงได้ค่ะ ดังนั้นควรสังเกตอาการลูกน้อยหลังได้รับวัคซีนค่ะ หากสงสัยหรือพบความผิดปกติควรปรึกษาแพทย์ค่ะ แต่บางกรณีคุณสามารถดูแลลูกน้อยในเบื้องต้นได้ค่ะ เช่น

  • หลังฉีดวัคซีนลูกอาจมีไข้ใน 1-2 วัน ยกเว้นวัคซีนหัด MMR อาจมีไข้หลังฉีด 1 สัปดาห์ ซึ่งสามารถทานพาราลดไข้ร่วมกับเช็ดตัวได้ค่ะ
  • กรณีมีเลือดออกรอยฉีดวัคซีนให้คุณแม่กดเบาๆนิ่งๆที่แผลห้ามถูไปมาค่ะ กรณีที่เลือดไม่หยุดไหลควรกลับไปพบแพทย์ค่ะ
  • มีอาการปวดบวมแดงบริเวณที่ฉีดวัคซีนใน 24 ชั่วโมงแรกให้ประคบเย็นเพื่อลดอาการปวดค่ะ โดยใช้ผ้าชุบน้ำเย็นค่อยประคบบริเวณนั้นแต่ไม่ควรนาบตรงๆหรือแช่ไว้นานๆค่ะ และประคบอุ่นเพื่อลดอาการบวมช้ำค่ะ แต่หากอาการได้ดีขึ้นใน 7 วัน ควรพาลูกไปพบแพทย์ค่ะ
  • แผลฉีดวัคซีนเป็นก้อนไตแข็ง คุณแม่ไม่ต้องตกใจค่ะเนื่องจากก้อนไตนั้นสามารถหายได้เองใน 2-3 วันค่ะ
  • มีฝีหนองหรือแผลอักเสบเป็นหนอง ควรพาลูกน้อยไปพบแพทย์ค่ะ
  • กรณีที่ลูกมีอาการกระสับกระส่าย หายใจลำบาก อาเจียน ท้องเสีย ชัก ฯลฯ ควรรีบพบแพทย์ทันทีค่ะ เพราะอาการเหล่านี้อาจเกิดจากการแพ้วัคซีนนั้นได้ค่ะ

นอกจากนี้ในกรณีที่ไม่สามารถพาลูกมาฉีดวัคซีนตามกำหนดได้ คุณพ่อคุณแม่สามารถพาน้องไปพบแพทย์ เพื่อเข้ารับการฉีดวัคซีนตามความเหมาะสมได้ค่ะ หรือในกรณีที่คุณพ่อคุณแม่ต้องการฉีดวัคซีนก่อนกำหนด คุณพ่อคุณแม่สามารถปรึกษาและขอคำแนะนำจากแพทย์ได้ค่ะ แต่การฉีดวัคซีนที่ได้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดควรได้รับได้กำหนดระยะเวลาค่ะ

  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/
  • https://upt-tipd.iaincurup.ac.id/thai/
  • https://ais.stimaimmi.ac.id/
  • https://upt-tipd.iaincurup.ac.id/
  • https://library.stieppi.ac.id/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/
  • https://uptb.iaincurup.ac.id/
  • https://spmi.stieppi.ac.id/
  • https://tkjakartatimur.khoiruummah.id/mahjong/
  • https://tkjakartatimur.khoiruummah.id/qris/
  • https://sdsumedang.khoiruummah.id/smahjong/
  • https://sukabumi.khoiruummah.id/sdana/
  • https://acteaweb.org/bet400/
  • https://acteaweb.org/pulsa/
  • https://journal.literasihukum.com/mahjong/
  • https://journal.literasihukum.com/qris/
  • https://bandar168.store/
  • https://www.giathinhphatinterior.com/
  • https://www.okethelabel.com/
  • https://journal.moseskotaneinstitute.com/nas/liga367-pola-rtp/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/sj/
  • https://international.unitomo.ac.id/wp-content/languages/hl/
  • https://bpm.unitomo.ac.id/wp-content/uploads/yi/
  • https://library.stieppi.ac.id/stam/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/slsa/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/sris/
  • https://jurnal.fpok.upgripnk.ac.id/public/sloto/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/sesmi/
  • https://library.stieppi.ac.id/xthailand/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/xmahjong/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/xpulsa/
  • https://jurnal.fpok.ikippgriptk.ac.id/public/xqris/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/xdana/
  • https://sumateraconnect.or.id
  • https://pt-ads.co.id/
  • https://bandungprecast.com/
  • https://jasaaspalhotmixbandung.my.id/
  • https://tjvs.tu.edu.iq/
  • https://ojs.al-adab-journal.com/
  • https://insightfuljournals.com/
  • https://interaction.id/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sthailand/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/smahjong//
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xthailand/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xmahjong/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/slqris/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/schitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/scahitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/slopulsa/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sloqris/
  • stmedj.com
  • inmovil.org
  • journal.fisil.ubhara.ac.id
  • https://egyptscholars.org//
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot
  • https://egyptscholars.org/slot-thailand/
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot/
  • Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot Maxwin
  • https://v2.stieputrabangsa.ac.id/nity/
  • https://siakad-pben.unida-aceh.ac.id/infy/
  • https://ct.pt-sultra.go.id/site/
  • https://ct.pn-probolinggo.go.id/file/
  • https://sipp.pa-bawean.go.id/site/